หน้าเว็บ

วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

จินตทัศน์ชั้น ๖

หน่วยวิช         จินตทัศน์           ชั้น                  ภาค      ฉันทะ                ปีการศึกษา  ๒๕๕๕
มโนทัศน์ระดับชั้น เคารพความแตกต่าง ให้เกียรติและเห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์
ครูผู้สอน               ครูอัมภิณี  เลิศปีติวาณิชย์  และ ครูเกศ  ศรีวัฒนพล        
                        ครูสุรีย์  ศรีประทุม และ ครูสินรี  จ้อยรักษา

แก่นสาระการเรียนรู้ เจตคติและสมรรถนะที่คาดหวังในภาคเรียน
          เพื่อพัฒนาทักษะการทำความเข้าใจและการนำเสนอความเข้าใจผ่านขั้นตอนของการสื่อสารได้อย่างลึกซึ้ง
นักเรียนสามารถเข้าใจลักษณะของการสื่อสารทั้งทางกายภาพและคุณลักษณะทางจินตภาพและมโนทัศน์  นักเรียนสามารถ
๑.ทำความเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว
๒.คิดวิเคราะห์ ให้เหตุผล ค้นหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงและสร้างสรรค์ผ่านอัตลักษณ์ของแต่ละบุคคลด้วยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
๓.นำเสนอสิ่งที่เข้าใจและสร้างสรรค์ผ่านตัวตน ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง
 นักเรียนสามารถใช้ทักษะดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองให้เหมาะสมตามวัย(Praxic Constructional Ability)
และสามารถตัดสินใจได้เองอย่างมีวิจารณญาณ( Good Judgement  with Critical Thinking)

สัปดาห์
แก่นสาระการเรียนรู้
เจตคติและสมรรถนะที่คาดหวัง
ชิ้นงานสำคัญ
-
จินตภาพ
 -เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจลักษณะของการสื่อสารทางกายภาพ
-เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ คุณลักษณะทางจินตภาพและมโนทัศน์   
-ทำความเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว
-เพื่อให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ผ่านอัตลักษณ์ของแต่ละบุคคลด้วยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
๑.       สามารถบันทึกสิ่งที่เห็นจากการทำกิจกรรม
๒.       สามารถบันทึกสิ่งที่คิดและรู้สึกจากการทำกิจกรรม
๓.       สามารถสร้างชิ้นงานอิสระภายใต้เงื่อนไขร่วม โดยสร้างภาพจากหลัก Figure & Ground และสามารถสื่อหนึ่งความหมายเมื่อมองตัว สื่อได้อีกหนึ่งความหมายเมื่อมองพื้น

สื่อการเรียนรู้  Rubin’s vase Picture สมุดวาดเขียน กระดาษโปสเตอร์สีดำ กรรไกร กาว แบบฝึกหัดรูปแบบซ้ำ(pattern)
บันทึกการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ภาพ figure & ground
แบบฝึกหัดรูปแบบซ้ำ(pattern)

๓.
มโนทัศน์
-เพื่อพัฒนาคิดวิเคราะห์ ให้เหตุผล  ด้วยวิธีการที่หลากหลายและเป็นระบบผ่านเครื่องมือช่วยคิด
๑.       สามารถจำแนกหมวดหมู่ โดยการเปรียบเทียบสิ่งของสองสิ่งผ่านลักษณะที่หลากหลายตามความเข้าใจของสิ่งรอบตัว
๒.       สามารถสร้างตารางเปรียบเทียบได้เอง โดยนักเรียนสามารถเลือกหัวข้ออิสระตามสิ่งที่สนใจหรือประทับใจนำมาเปรียบเทียบกัน
๓.       สามารถเข้าใจเรื่องตำแหน่งพิกัดได้และสร้างสรรค์ด้วยตำแหน่งพิกัดได้เอง
สื่อการเรียนรู้
แบบฝึกหัดเรื่องการจำแนกหมวดหมู่จำนวน 4 หน้า
แบบฝึกหัดเรื่องตารางและพิกัด จำนวน 4 หน้า
ระดมความคิดและตารางเปรียบเทียบ
สร้างตารางเปรียบเทียบของตนเอง
สร้างตำแหน่งพิกัดของ
ตนเองโดยเงื่อนไขร่วม
แบบฝึกหัด
๔.
จินตทัศน์
-ใช้ทักษะดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองให้เหมาะสมตามวัย(Praxic Constructional Ability)
-นำเสนอสิ่งที่เข้าใจและสร้างสรรค์ผ่านตัวตน ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง
๑.     สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเนื้อหาสาระสู่สิ่งรอบตัว ผ่านจินตนการตามอัตลักษณ์ของแต่ละบุคคล สู่การสร้างสรรค์ชิ้นงาน โดยใช้เครื่องมือ Concept Mapช่วยนำเสนอความเข้าใจตามเงื่อนไขร่วม โดยเชื่อมโยงเนื้อหาจากวิชาธรรมชาติหรือมนุษย์
สื่อการเรียนรู้ สมุดวาดเขียน กระดาษโปสเตอร์  กรรไกร กาว สี แบบฝึกหัดเรื่องตำแหน่งและที่ว่าง
ชิ้นงานสร้างสรรค์แสดงความสัมพันธ์ตามอัตลักษณ์ของแต่ละคน

แบบฝึกหัดเรื่องตำแหน่งและที่ว่าง
๕.-
จินตภาพ
เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจลักษณะของการสื่อสารทางกายภาพ
-เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ คุณลักษณะทางจินตภาพและมโนทัศน์   
-ทำความเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว
-เพื่อให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ผ่านอัตลักษณ์ของแต่ละบุคคลด้วยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
๑.   สามารถบันทึกสิ่งที่เห็นจากการทำกิจกรรม
๒.      สามารถบันทึกสิ่งที่คิดและรู้สึกจากการทำกิจกรรม
๓.       สามารถสร้างชิ้นงานอิสระภายใต้เงื่อนไขร่วมโดยใช้จุด (เลือกรูปร่างของจุดจากรูปทรงเรขาคณิต)ตามจำนวนที่กำหนดให้ สร้างให้เกิดกลุ่มตามแนวนอนหรือแนวตั้ง
สื่อการเรียนรู้  ภาพ Gestalt Proximity(ความใกล้ชิด) สมุดวาดเขียน กระดาษโปสเตอร์สีดำ กรรไกร กาว
แบบฝึกหัดเรื่องมิติสัมพันธ์
บันทึกการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ภาพ Proximity
แบบฝึกหัดเรื่องมิติสัมพันธ์
๖.
มโนทัศน์




-เพื่อพัฒนาคิดวิเคราะห์ ให้เหตุผล  ด้วยวิธีการที่หลากหลายและเป็นระบบผ่านเครื่องมือช่วยคิด
๑.       สามารถจำแนกหมวดหมู่ โดยการเปรียบเทียบสิ่งของสองสิ่งผ่านลักษณะที่หลากหลายตามความเข้าใจของสิ่งรอบตัว
๒.       สามารถสร้างตารางเปรียบเทียบได้พร้อมกับจำแนกหมวดหมู่ได้ด้วยตนเอง
๓.       สามารถเข้าใจเรื่องตำแหน่งพิกัดได้และสร้างสรรค์ได้โดยตำแหน่งพิกัดได้ด้วยตนเอง
สื่อการเรียนรู้
แบบฝึกหัดเรื่องการจำแนกหมวดหมุ่จำนวน 4 หน้า
แบบฝึกหัดเรื่องตารางและพิกัด จำนวน 4 หน้า
ระดมความคิดและตารางเปรียบเทียบ
สร้างตารางเปรียบเทียบของตนเอง
สร้างตำแหน่งพิกัดของตนเองโดยเงื่อนไขร่วม
แบบฝึกหัดการประสานของตาและมือ
๗-๘
จินตทัศน์
-ใช้ทักษะดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองให้เหมาะสมตามวัย(Praxic Constructional Ability)
-นำเสนอสิ่งที่เข้าใจและสร้างสรรค์ผ่านตัวตน ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง
๑.     สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเนื้อหาสาระสู่สิ่งรอบตัว ผ่านจินตนการตามอัตลักษณ์ของแต่ละบุคคล สู่การสร้างสรรค์ชิ้นงาน โดยใช้เครื่องมือConcept Mapช่วยนำเสนอความเข้าใจตามเงื่อนไขร่วม โดยเชื่อมโยงจากเนื้อหาวิชาธรรมชาติและมนุษย์สู่สิ่งรอบตัว และตกแต่งด้วยหลัก Figure & Ground หรือ Proximity
สื่อการเรียนรู้
สมุดวาดเขียน กระดาษโปสเตอร์  กรรไกร กาว สี
แบบฝึกหัดเรื่องตำแหน่งและที่ว่าง
ชิ้นงานสร้างสรรค์แสดงความสัมพันธ์ตามอัตลักษณ์ของแต่ละคน

แบบฝึกหัดเรื่องมิติสัมพันธ์
สะท้อนการเรียนรู้และจัดทำ AAR





จำนวนคาบสอน                     จำนวน    คาบ ต่อสัปดาห์
เอกสารประกอบการสอน     Figure & Ground  ,
Gestalt principles 
แบบฝึกหัดรูปแบบซ้ำ(pattern)
แบบฝึกหัดเรื่องการจำแนกหมวดหมุ่
แบบฝึกหัดเรื่องตารางและพิกัด
แบบฝึกหัดเรื่องตำแหน่งและที่ว่าง
แบบฝึกหัดเรื่องมิติสัมพันธ์
สื่อการเรียนรู้                          ภาพ ตัวและพื้น
                                                Rubin’s vase
                                                Proximity

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น